empty
 
 

ตัวบ่งชี้โมเมนตัม : คำอธิบาย, การติดตั้ง, คำอธิบาย: คำอธิบาย, การปรับใช้ และการใช้งาน

ตัวบ่งชี้โมเมนตัมนั้นเป็น ตัวบ่งชี้จากแนวโน้มที่มีความง่ายในการใช้งานมากที่สุดในส่วนของเครื่องมือสำหรับการวิเคราะห์ทางเทคนิค

ตัวบ่งชี้โมเมนตัม จะแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของราคาในตราสารที่กำลังทำการซื้อขายในช่วงระยะเวลานั้น โดยมันสามารถใช้งานควบคุ่ได้กับ :

ตัวชี้วัดความแกว่ง ที่คล้ายกับค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบไปทางเดียวกัน และสวนทางกัน MACD หลังจากที่ตามมาด้วยแนวโน้ม ในกรณีนี้ เทรดเดอร์จะได้รับสัญญาณในการซื้อ หากโมเมนตัมได้ปรับตัวลงไป และต่อจากนั้นก็เคลื่อนตัวขึ้นด้านบน และเทรดเดอร์ควรจะทำการขาย เมื่อโมเมนตัมได้ทะลุขึ้นจุดสูงสุดและต่อจากนั้นเกิดการปรับตัวลงมา สำหรับการหาการย้อนกลับของโมเมนตัมให้แม่นยำนั้น ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ระยะสั้นสามารถใช้งานในส่วนนี้ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมูลค่าในระดับสูงหรือต่ำของตัวบ่งชี้ ที่จะแสดงให้เห็นว่าแนวโน้มจะก่อตัวขึ้นมา หากโมเมนตัมได้ขยับตัวเจอมูลค่าในระดับสูง และต่อจากนั้นกลับปรับตัวลง จะแสดงให้เห็นว่าราคาอาจจะยังคงมีการปรับตัวขึ้น แต่เทรดเดอร์ก็ควรใช้เวลา ในการเปิดหรือปิดสถานะ จนกว่าราคาจะยืนยันถึงสัญญาณ

ตัวชี้วัดนำ วิธีนี้ในการใช้งานนี้จะขึ้นอยู่กับสมมติฐานของ การปรับตัวขึ้นอย่างฉับพลันของราคาที่จะเป็นตัวแสดงถึง จุดสิ้นสุดของแนวโน้มขาขึ้น (เพราะว่าทุกคนอาจจะเชื่อว่ามันอาจจะปรับตัวอย่างต่อเนื่อง ) ขณะที่การปรับตัวลงอย่างฉับพลันเองก็กระตุ้นให้เกิดแนวโน้มขาลง (ดังนั้นทุกคนจึงพยายามออกจากตลาด) โดนหลักแล้วเหตุการณ์ทั้งสองอย่างนี้ถ้าเกิดขึ้น มันก็ไม่อาจเกิดขึ้นเป็นระยะยาว เมื่อตลาดได้ปิดตัวลงไปในระดับสูงสุด โมเมนตัมก็จะดันตัวขึ้นมา ต่อจากนั้นมันจะเริ่มต้นดิ่งตัวลงเนื่องจากราคายังคงมีการปรับตัวขึ้นมา หรืออาจจะยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง หากตลาดได้มีการปรับตัวลงมา โมเมนตัมก็จะลดระดับลงมาเพื่อย้อนตัวกลับขึ้นด้านบน ก่อนหน้าที่ราคาจะเริ่มดันตัวขึ้นตามๆกัน โดยทั้งสองกรณีนี้ จะมะช่องว่างระหว่างโมเมนตัมและระดับราคา

indicator momentum

การคำนวณ

โมเมนตัม = CLOSE(i)/CLOSE(i-N)*100

CLOSE(i) – ราคาในช่วงปิดของเส้นกราฟในปัจจุบัน

CLOSE(i-N) – ราคาปิดที่ N ของขอบเส้นกราฟก่อนหน้านี้

   กลับสู่รายชื่อตัวชี้วัด   
กลับสู่รายชื่อตัวชี้วัด
หากไม่สะดวกคุยในตอนนี้
ระบุคำถามไว้ได้ใน แชท.